วันศุกร์ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2556

lab osmssis

การวัดความดันออสโมซิสโดยใช้เครื่องมือออสโมมิเตอร์

ตอนไข่

อุปกรณ์

1.ไข่ไก่ดิบ
2.หลอด
3.ขวดนม
4.เทียน
5.มีด
6.กรรไกร
7.ไฟแช็ค
8.น้ำ

วิธีการทดลอง
 1. แกะเปลือกไข่ส่วนล่างให้เห็นเยื่อหุ้มไข่ ระวังอย่าให้ไข่แตก 
 2.เจาะรูส่วนบนของไข่โดยขนาดรูพอดีกับหลอด
 3.ใส่หลอดลงไปในไข่ ความยาวประมาณครึ่งไข่
 4.ปิดรูด้วยนํ้าตาเทียน
 5.ใส่นํ้าในขวดนม แล้วนำไข่ที่ได้ตั้งบนปากขวด
 6.สังเกต และบันทึกผล


แกะเปลือก

ตอนเซลล์ว่านกาบหอย

ทดลองในนํ้ากลั่น และในนํ้าเกลือ ต้องใช้กล้องจุลทรรศ์

วิธีการทดลอง
1.นำเซลล์ว่านกาบหอยตั้งบนแผ่นสไลด์ จากนั้นหยดนํ้ากลั่น 1-2หยด ปิดด้วยแผ่นปิด
2.นำเซลล์วางบนสลิบ แล้วส่องด้วยกล้องจุลทรรศ์
3.สังเกตและบันทึกผล
4.นำเซลล์ว่านกาบหอยตั้งบนแผ่นสไลด์ จากนั้นหยดนํ้าเกลือ 1-2หยด ปิดด้วยแผ่นปิด
5.นำเซลล์วางบนสลิบ แล้วส่องด้วยกล้องจุลทรรศ์
6.สังเกตและบันทึกผล

ผลการทดลอง

เวลล์ว่ากาบหอยในนํ้ากลั่น

เซลล์ว่านกาบหอยในนํ้าเกลือ

สรุป
1.เซลล์จะมีสภาพต่างกันเมื่ออยู่ในสภาพแวดล้อมที่ต่างกัน
2.การออสโมซิส การแพร่ของนํ้า จากปริมาณนํ้ามากไปหาปริมาณนํ้าน้อย
3.นํ้าเกลือมีปริมาณนํ้าน้อย เมื่อมีการแพร่ ทำให้เซลล์เยื่อหุ้มเซลล์เหี่ยว
4.นั้ากลั่น มีปริมาณนํ้ามาก ทำให้นํ้่าเคลื่อนที่เข้าสู่เซลล์ และทำให้เซลล์เต่งตึง




น้องๆๆสามารถทดลองได้นะคร้าบบบ





วันจันทร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2556

การลำเลียงสารผ่านเซลล์

การลำเลียงสารผ่านเซลล์

การเคลื่อนที่ผ่านเซลล์ขึ้นอยู่กับสารที่เข้าไปในเซลล์จะใหญ่หรือเล็ก

การลำเลียงสารผ่านเซลล์ มี 2 แบบ ดังตัวอย่างภาพดังนี้





1.การลำเลียงสารมีแบบไม่ใช้พลัง (passive transport)
 passive transport ได้แก่

 1.การแพร่ (diffusion) --- --------------->การแพร่จากความเข้มข้นมาก ไปหาความเข้มข้นน้อย ข้นอยู่กับสถานะ อุณหภูมิ ความดัน
 2.ออสโมซิส(osmosis)............................>การแพร่ของนํ้าจากมากไปหาน้อย โดยแพร่ผ่านเยื่อ จะออสโมซิสได้ต้องเกี่ยวข้องกับสารละลาย ซึ่งมี 3ชนิด
 1.ไฮเปอร์โทนิก.............เข้มข้นกว่า
 2.ไฮปโทนิก...................เข้มข้นน้อยกว่า
 3.ไฮทนิก.......................สมดุลกัน
3. พาซีลีเทต------------------------------>เป็นการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของสารจากความเข้มข้นสูง ไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นตํ่า


2 การลำเลียงสารแบบใช้พลังงาน(.active transport)

active transport  ได้แก่
1.เอกโซไซโทซิส...................เป็นการลำเลียงสารขนาดใหญ่ออกจากเซลล์
2.เอนโดไซโทซิส....................เป็นการลำเลียงสารขนาดใหญ่เข้าสู่เซลล์ เอนโดไซโทซิสมีชื่อเรียกต่างๆว่า
1 ฟาโกไซโทซิส
2. ฟิโนไซโทซิส
3.Receptor


.............................เซลล์จะมีการเคลื่อนที่นำสารออกจากเซลล์ตลอดเวลา
  ..........ทั้งนี้เซลล์จะมีสภาพต่าง เมื่ออยู่ในสภาพแวดล้อมที่ต่างกัน.......................................












วันเสาร์ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2556

เซลล์


เซลล์
 เซลล์คือหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต

เซลล์มี 2 ชนิด ได้แก่


1.โพรคารีโอด--------------->เซลล์ชั้นตํ่า ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส ไรโบโซมมีขนาดเล็กมาก 70s  พบในยูแบคทีเรีย และคาร์เคีย

 2.ยูคารีโอด------------------>เซลล์ชั้นสูง มีเยื้อหุ้มนิวเคลียส ไรโบโซมขนาด 80s  มีออร์แกเนลที่มีเยื้อหุ้มนิวเคลียส พบใน โปรติสต์ เห็ด รา พืช และสัตว์


ความแตกต่างระหว่างโพรคารีโอดและยูคารีโอด









ชนิดของเซลล์และหน้าที่

    
 1. เยื่อหุ้มเซลล์
ควบคุมการผ่านเข้าออกของสาร
        2. นิวเคลียสศูณย์ควบคุมกิจกรรมต่างๆภายในเซลล์
        3. ไรโบโซมสังเคราะห์สายพอลิเพปไทด์และโปรตีน
        4. เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมขนส่งสาร
        5. กอลจิแอพพาราตัส (golgi apparatus)ขนส่งสาร บรรจุ สะสมโปรตีน
        6. ไลโซโซม (lysosome)
กำจัดของเสีย
      8. แวคิวโอล (vacuole)
สะสมอาหาร
        9. ไมโทคอนเดรีย (mitochondria)
สร้างพลังงาน  ATP
       10. คลอโรพลาสต์ (chloroplasts)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง

โครงสร้างภายในเซลล์

      



การเปรียบเทียบเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
     
ลักษณะรูปร่าง ส่วนประกอบและหน้าที่ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ เปรียบเทียบเพื่อให้เห็นความเหมือนและความแตกต่างระหว่างเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ได้ดังนี้
                                 

รูปร่างเซลล์พืช
สีเหลี่ยม เนื่องจากมี cell wall หุ้มอยู่ เซลล์จึงมีรูปร่างที่แน่นอน

รูปร่างเซลล์สัตว์
 กลมๆๆ และกระจัดกระจาย  เพราะไม่มีเซลล์หุ้ม

วันศุกร์ที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556

lab....กล้องจุลทรรศ์


กล้องจุลทรรศ์


คือ.....กล้องที่ใช้ศึกษาโครงสร้างของเซลล์ หรือสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก 
..ภาพที่ได้จากกล้องจะได้ภาพเสมือนหัวกลับ


โครงสร้างของกล้องจุลทรรศ์มีดังนี้






วิธีการใช้
1.หมุนเลนส์ใกล้วัตถุ แล้วเลือกกำลังขยาย
2.นำแผ่นสไลด์ที่จะศึกษาวางบนแท่นวางวัตถุ
3.มองผ่านเลนส์ใกล้ตา
4.หากต้องการขยายหรือย่อ.ให้หมุนเลนส์ใกล้วัตถุจนเห็นภาพชัดๆๆ
5.สามารถปรับแสงด้วยการหมุนไดอะเฟรม

ตัวอย่างภาพจากกล้องจุลทรรศ์..ระหว่างเซลล์พืชกับเซลล์สัตว์

เซลล์พืชคือเซลล์ว่านกาบหอย
เซลล์ว่านกาบหอย สิ่งทีพบคือChoraplast,Guard Cell,Cell Wall,Cytoplasm

เซลล์สัตว์คือเซลล์เยื่อบุข้างแก้ม

เซลล์เยื่อบุข้างแก้ม สิ่งที่พบคือ Centrosome,Cyytoplasm,Lysosome,Ribosomes  



วิทยาศาสตร์........สนุกกว่าทีคิด...............

วันจันทร์ที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2556

สรุป...บทเรียนเรื่องกระบวนการทางวิทยาศาสตร์...

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยดังนี้


1.ขั้นกำหนดปัญหา
2.สมมติฐานที่เป็นไปได้
3.คำนิยามเชิงปฏิบัติการ
4.ระบุตัวเเปร 
     4.1 ตัวเเปรต้น  
     4.2 ตัวเเปรตาม  
      4.3ตัวเเปรควบคุม  
5.ขอบเขตการทดลอง
6.การทดสอบสมมติฐาน
7.การเสนอผลการทดลอง
       

จะเห็นได้ว่า กระบวนการที่สำคัญที่สุดคือการกำหนดปัญหา เพราะปัญหา จะได้มาซึ่งคำตอบ.....เกิดกระบวนการเรียน
รู้นั้นเอง     









อย่าลืมนะค่ะว่าต้องทำตามขั้นตอน.........






วันพฤหัสบดีที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2556

สรุปบทเรียน....วิทยาศาสตร์

เรียนเพื่อรู้...และเปลี่ยน


สรุปบทเรียน 10 มิถุนายน 2556
....
.........
                  
               ชีวิตครูนั้น คิดนอกกรอบก็ได้   หากว่ามันดีสำหรับเด็ก

      เพราะหน้าที่ของครูนั้น         สอนเด็ก  ไม่ใช่สอนหนังสือ

               เช่นนี่แล้ว  ........
                                 ........
              ครู..จะสอน  หลักสูตรไม่สำคัญ
              ขอแค่ให้ครูรู้ว่าสอนแล้ว..ดี
                        ครูควรรู้ว่าสำหรับยุคนี้แล้ว โลกเปลี่ยน>>>>>จำเป็นต้องเรียนรู้  >>>และเปลี่ยนแปลงเพื่อสิ่งที่ดี

เฉกเช่น     นกอินทรีย์ ไดโนเสาร และ จิ้งจก


ชีวิตใหม่ของนกอินทรีย์
ที่ดีกว่าเดิม
..........................
มันยอมเจ็บ.....เพื่อการเปลี่ยนแปลง


.....................................>>>>>>>>>>>........................    




 หากอะไรๆๆก็เปลี่ยน แต่ไดโนเสาร์

ไม่คิดที่จะเรียนรู้   และไม่ปรับตัว

 >>>ท้ายที่สุดก็สูญพันธ์
   

.........................
...................
.............>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>.............
........................

แต่จิ้งจกมีอะไรใหม่ๆมันเรียนรู้ตลอด

               และยังสามารถปรับตัวได้กับทุกสภาพ ทุกสถานการณ์

                  >>>>ท้ายที่สุดมันก็อยู่รอดจนถึงปัจจุบันนี้  







                             ดังนั้น คำว่าเรียนรู้  และเปลี่ยนปลงสำคัญที่สุด
           สำหรับครูอย่างเรา   
 โลกเปลี่ยน>>>>เกิดความรู้ใหม่>>สอนไม่หมด>>>แต่เรียนรู้ได้     ...............
   

วันศุกร์ที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2556

กว่าจะเป็นมูนา

กว่าจะเป็น......มูนา++__+++!!!

ชื่อเรานี้ เรียกสั้นๆว่า นา    เรียกยาวๆๆๆว่า มู..................................นา  
 ถ้าให้เต็มยศจัดไปเรียก ม.ร.ว มูนา  กะดะแซ   (ม.ร.ว===แม่เรียกว่า)


ตอนเด็กๆๆอสุจิของหนูไม่ชนะพี่
เลยเกิดคนที่2 ของครอบครัวณ.วันที่9 มกราคม 36
แต่ยังน้อยหนูก็ชนะน้องๆๆที่คลานตามมาติดๆๆ3คน
.......วันนั้น  หมอตำแย ไปทำคลอดหนู
 ณ. บ้านเลขที่ 45ม.1ต.จะกว๊ะ อ.รามัน จ.ยะลา95140
....ถ้าอยากทราบว่าหมอตำแยที่ทำคลอดชื่อไร...กด 0807150593

.........5ปีผ่านไป......


ตอนประถมชอบวิ่งไล่จับกับคุณครู โดดเรียนคือหน้าที่ โตมาเลยชอบเล่นกีฬา>>>>  ทุกประเภท
....................................................


จนถึงตอนนี้มาเรียนครูซะเอง กลัวมากๆๆว่าในอนาคตจะต้องไปวิ่งไล่จับกับเด็กๆๆ (กรรมตามสนอง) แต่ไม่เป็นไร ณ. psu pattani เขาฝึกครูให้เป็นครูมืออาชีพ....รหัส 5520117067 ถือว่าเป็นเกียรติอย่างยิ่งสำหรับหนู

สำหรับสาขาการประถมมีคนเคยบอกว่า........เรียนทุกสาขาแต่ไม่เก่งสักด้านเหมือนคนเรียนเอกโดยตรง  เขาเปรียบเทียบเราเหมือน..เป็ด 
ที่จะบินให้เก่งเหมือนนกก็ไม่ได้
จะว่ายนํ้าให้ดีเหมือนปลาก็ไม่ได้..
...........................
สำหรับหนู โครตดีใจที่เป็นเป็ด
เพราะนกว่ายนํ้าไม่ได้
ปลาบินไม่เป็น
แต่เป็ด...ทำได้้้้้้้ทั้งสอออองงงงงงงง..


.................................................................
บุคลิกของหนู..ก็เงียบๆขรึมๆๆๆน่ะ 
ชอบของมีคม..(คำคม ) แต่งตัวไม่ค่อยเป็น หนูยึดคำคมที่ว่า
เวลาส่องกระจก เราอย่ามองแค่ว่าบนใบหน้าเรามีความสวยงามไหม แต่ให้มองว่าบนใบหน้าของเรามีความดีงามอยู่ไหม!!!!!

มีไรก็ แอดไป munaa Element จ้า